อะร Detail Herb | Herbal Expert by Mayuree

ฟักทอง

ชื่อสมุนไพร

ฟักทอง

ชื่อวิทยาศาสตร์

Cucurbita moschata Decne.

ข้อบ่งใช้บนหลักฐานเชิงประจักษ์ในคน

  • ผลฟักทองมีสารอาหาร ดังนี้ คาร์โบไฮเดรต 4.6%, โปรตีน 1.4%, ไขมัน 0.1% และมีวิตามินเกลือแร่อื่น ๆ เล็กน้อย ได้แก่ วิตามินบี วิตามินซี แคลเซียม ฟอสเฟต และธาตุเหล็ก
  • เมล็ดฟักทองมีสารอาหาร ดังนี้ มีวิตามินอีสูง, โปรตีน 35%, โอเมก้า-3, โอเมก้า-6, โพแทสเซียม, แคลเซียม, ฟอสเฟต, แมกนีเซียม, แมงกานีส, ธาตุเหล็ก และซิงค์ และสารที่มีฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง (phytoestrogen)
  • น้ำมันเมล็ดฟักทองมีส่วนประกอบของกรดไขมันไม่อิ่มตัว 75%
  • งานวิจัยในผู้ชายโรคต่อมลูกหมากโต จำนวน 1,431 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ได้รับเมล็ดฟักทอง 5 กรัม วันละ 2 ครั้ง, ได้รับสารสกัดเมล็ดฟักทอง ขนาด 500 มก. วันละ 2 ครั้ง หรือไม่ได้รับประทานเมล็ดฟักทอง เป็นเวลา 1 ปี ผลการศึกษาพบว่า ทั้ง 3 กลุ่มบรรเทาอาการโรคต่อมลูกหมากโตได้ไม่แตกต่างกัน

           *ปานกลาง, ไม่แนะนำให้ใช้

  • งานวิจัยในผู้ชายที่มีผมบาง (androgenetic alopecia) น้อยถึงปานกลาง จำนวน 76 คน ได้รับน้ำมันเมล็ดฟักทอง ขนาด 400 มก.ต่อวัน เป็นเวลา 6 เดือน พบว่า กลุ่มที่รับประทานน้ำมันเมล็ดฟักทองมีผมขึ้นมากกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับ 30%

           *สูง, แนะนำให้ใช้

  • ยังไม่มีงานวิจัยในคนยืนยันผลว่าช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ระดับไขมันในเลือด ป้องกันโรคหัวใจ หรือ โรคมะเร็งได้

          *ต่ำ, ไม่แนะนำให้ใช้

This Section for Subscription Only
+ ข้อควรระวัง
+ *อันตรกิริยากับยา
+ ปรึกษากับอาจารย์มยุรี

เอกสารอ้างอิง

  1. Roy SK, Chakrabarti AK. VEGETABLES OF TROPICAL CLIMATES | Commercial and Dietary Importance. In: Caballero B, editor. Encyclopedia of Food Sciences and Nutrition (Second Edition). Oxford: Academic Press; 2003. p. 5956-61.
  2. Monash University Low FODMAP DietTM
  3. Jin H, Zhang Y-J, Jiang J-X, Zhu L-Y, Chen P, Li J, et al. Studies on the extraction of pumpkin components and their biological effects on blood glucose of diabetic mice. J Food Drug Anal. 2013;21(2):184-9.
  4. Salehi B, Capanoglu E, Adrar N, Catalkaya G, Shaheen S, Jaffer M, et al. Cucurbits plants: A key emphasis to its pharmacological potential. Molecules. 2019;24(10):1854.
  5. Lestari B, Meiyanto E. A review: The emerging nutraceutical potential of pumpkin seeds. Indones J Cancer Chemoprevent. 2018;9(2):92-101.
  6. Vahlensieck W, Theurer C, Pfitzer E, Patz B, Banik N, Engelmann U. Effects of pumpkin seed in men with lower urinary tract symptoms due to benign prostatic hyperplasia in the one-year, randomized, placebo-controlled GRANU study. Urol Int. 2015;94(3):286-95.
  7. Cho YH, Lee SY, Jeong DW, Choi EJ, Kim YJ, Lee JG, et al. Effect of pumpkin seed oil on hair growth in men with androgenetic alopecia: a randomized, double-blind, placebo-controlled trial. Evid Based Complement Alternat Med. 2014;2014:549721.
  8. Gossell-Williams M, Lyttle K, Clarke T, Gardner M, Simon O. Supplementation with pumpkin seed oil improves plasma lipid profile and cardiovascular outcomes of female non-ovariectomized and ovariectomized Sprague-Dawley rats. Phytother Res. 2008;22(7):873-7.
  9. Izzo AA. Interactions between herbs and conventional drugs: Overview of the clinical data. Medical Principles and Practice. 2012;21(5):404-28.
  10. Dotto JM, Chacha JS. The potential of pumpkin seeds as a functional food ingredient: A review. Scientific African. 2020;10:e00575.
Herbalexpertbymayuree Application
Copyright © 2020 by M.Tangkiatkumjai
Visitors : 427634